วารสารไทยศึกษา – ปีที่ 14 ฉบับที่ 1

 

 

1) นโยบายภาษาในแวดวงการศึกษาไทยจากยุคผู้นำชาติพ้นภัยสู่ยุคคืนความสุขให้ประชาชน / มนสิการ เฮงสุวรรณ

 

2) สึนามิ : เรื่องสั่นสะเทือนต่อโลกทัศน์เรื่องความตายในเรื่องสั้นไทย / นันทวัลย์ สุนทรภาระสถิตย์

 

3) ความซับซ้อนเรื่องประเภทกับข้อถกเถียงเรื่องความเป็น “นิราศ” / น้ำผึ้ง ปัทมะลางคุล

 

4) เหตุการณ์กลศึกในรามเกรฺติ์ฉบับตามี จกของเขมร : อิทธิพลจากรามเกียรติ์ฉบับพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชของไทย / ทับทิม แซ่หลี่ยง, อุบล เทศทอง

 

5) บทบาทของพระอิศวรในนิทานพื้นบ้านไทย / แคทรียา อังทองกำเนิด

 

6) ปรากฏการณ์ราหูคติ : พลวัตแห่งการสืบทอดและการสร้างสรรค์สัญลักษณ์ในงานศิลปะไทย / ประเสริฐ รุนรา

วารสารไทยศึกษา – ปีที่ 13 ฉบับที่ 2

 

 

1) โคลงเล่นซ่อนหาที่เกาะสีชัง : การเล่นกับภาษาในวันว่าง / สุกัญญา สุจฉายา

 

2) เกมกลอน : กิจกรรมการเรียนรู้ร้อยกรองที่มากกว่าความสนุก / ชวิน พงษ์ผจญ

 

3) หนังสืออ่านประกอบละครนอกเรื่อง “สังข์ทอง” สำหรับนักศึกษาชาวจีน / SHI LEI, สุภัค มหาวรากร, ผกาศรี เย็นบุตร

 

4) พระราชนิพนธ์ “พระมหาชนก” : การสืบทอดและการสร้างสรรค์วรรณคดีชาดกในบริบทสังคมไทยร่วมสมัย / ณัฐกาญจน์ นาคนวล

 

5) ราชธรรมในจามเทวีวงศ์ : ความสัมพันธ์กับการสร้างบารมีเพื่อเป็นพระอินทร์ / ธีรพัฒน์ พูลทอง

 

6) ครุพัน : สหัสวัตถุศักดิ์สิทธิ์กับบทบาทหน้าที่ในวัฒนธรรมอีสาน / สุทธินันท์ ศรีอ่อน

 

7) ประเพณีแซนโฎนตาบูชาบรรพบุรุษ: บทบาทประเพณีที่มีต่อชาวสุรินทร์ในปัจจุบัน / สารภี ขาวดี

วารสารไทยศึกษา – ปีที่ 13 ฉบับที่ 1

 

 

1) “กระอั้วแทงควาย” กับ “กระตั้วแทงเสือ” ประวัติและพัฒนาการของการละเล่นโบราณ / เกรียงไกร ฮ่องเฮงเส็ง

 

2) ความเป็นยุคสมัยใหม่ของพระพุทธศาสนาไทย : พระพุทธศาสนาเพื่อสังคม / ภาณุทัต ยอดแก้ว

 

3) พัฒนาการของแบบเรียนในการสอนอ่านเขียนภาษาไทยระดับประถมศึกษาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5 จนถึงปัจจุบัน / ภาสพงศ์ ผิวพอใช้

 

4) การขอพรในวรรณคดียอพระเกียรติของไทย / ปัทมา ฑีฆประเสริฐกุล

 

5) “เล้าข้าว” ภาพสะท้อนภูมิปัญญาของชาวนาในอีสาน / สุนิตย์ เหมนิล

 

6) ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับภาพตัวแทนคนอีสานในหนังสือพิมพ์ระดับชาติ : การศึกษาตามแนววาทกรรมวิเคราะห์เชิงวิพากษ์ / สุภัทร แก้วพัตร

วารสารไทยศึกษา – ปีที่ 12 ฉบับที่ 2

 

 

1) จากอวสานถึงเริ่มใหม่ : ยุคพระศรีอารียเมตไตรยในไตรภูมิฉบับหอสมุดแห่งชาติกรุงปารีส / ภัครพล แสงเงิน

 

2) “พุทธาวตาร” กับ “ทศรถชาดก” : พุทธในพราหมณ์-ฮินดู พราหมณ์-ฮินดูในพุทธ / แคทรียา อังทองกำเนิด

 

3) เสด็จประพาสต้น : การบันทึกกิจกรรมพักผ่อนหย่อนใจของชนชั้นนำสยามในสมัยรัชกาลที่ 5 / พรรณราย ชาญหิรัญ

 

4) คำกริยาที่แสดงการใช้มือกระทำในภาษาถิ่นเชียงราย / พรรณวดี รัตนศักดิ์, สุทธา รัตนศักดิ์

 

5) มิใช่เพียงแค่ฉายา : สมญาดารากับอำนาจสื่อในการวิจารณ์พฤติกรรมและสร้างภาพตัวแทนบุคคลในวงการบันเทิงไทย / รัชนีกร รัชตกรตระกูล

วารสารไทยศึกษา – ปีที่ 12 ฉบับที่ 1

 

 

1) อุรังคธาตุนิทานพุทธตำนานพระเจ้าเลียบโลกฉบับอีสานล้านช้าง : การสืบทอดและการสร้างสรรค์ / สุรชัย ชินบุตร

 

2) การผสมผสานความเชื่อเรื่องผี เทวดา และพุทธศาสนาในพิธีจุลกฐินของชาวไทยวน ชุมชนวัดบ้านทัพ ตำบลท่าผา อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ / ภาณุพงศ์ อุดมศิลป์

 

3) การวิเคราะห์ชื่อสร้อยของประชาชนจังหวัดเชียงราย / สุทธา รัตนศักดิ์, พรรณวดี รัตนศักดิ์

 

4) ทัศนะของนักปราชญ์ในจารีตเถรวาทของไทยต่อสิทธิมนุษยชน / ภาณุทัต ยอดแก้ว

 

5) “อาชญากรรม” ในวรรณกรรมของชาวบ้านภาคกลางสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว / โดม ไกรปกรณ์

วารสารไทยศึกษา – ปีที่ 11 ฉบับที่ 2

 

 

1) ละครลิง : จากมหรสพพื้นบ้านสู่มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ / รัตนพล ชื่นค้า

 

2) มโนทัศน์เรื่อง “ความศิวิไลซ์” ในสารคดีท่องเที่ยวกรุงเทพฯ ยุคแรกของไทย / วรรณพร พงษ์เพ็ง

 

3) การออกแบบอุตสาหกรรมเพื่อชุมชนสำหรับการพัฒนาผลิตภัณฑ์ท้องถิ่นโดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วมเพื่อสร้างความยื่นยืนให้กับชุมชน : กรณีศึกษาหมู่บ้านน้ำตาลสด ตำบลปากน้ำ อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทรา / ศรันยา เสี่ยงอารมณ์

 

4) ปอยส่างลอง : สัญลักษณ์และความหมายทางสังคมของชาวไทใหญ่ในจังหวัดแม่ฮ่องสอน / ธรรศ ศรีรัตนบัลล์

 

5) ตัวตนของเมืองในล้านนา / ภูเดช แสนสา

วารสารไทยศึกษา – ปีที่ 11 ฉบับที่ 1

 

 

1) โคลงภาพเรื่องรามเกียรติ์ วัดพระเชตุพน : ลักษณะเด่นด้านศิลปะการประพันธ์ในฐานะวรรณคดีประกอบทัศนศิลป์ / ธานีรัตน์ จัตุทะศรี

 

2) ตัวการ์ตูนปีศาจ : การนำเสนออกุศลกรรมและวัฒนธรรมท้องถิ่นในหนังสือการ์ตูนเณรแก้วกับน้อยไชยา / นิธิอร พรอำไพสกุล, พฤทธิ์ ศุภเศรษฐศิริ

 

3) นิทานโชคดีชุด “ชนะใจได้” : ชีวิตที่มีมงคลคือชีวิตที่โชคดี / สุภัค มหาวรากร, พฤทธิ์ ศุภเศรษฐศิริ

 

4) คุณค่าที่มีต่อสังคมของละครโทรทัศน์ที่ผลิตซ้ำ / รวิพรรณ เพชรอนันต์กุล, ประเทือง ทินรัตน์

 

5) ตรีพิพิธพร สวัสดิมงคลในพระราชวังดุสิต รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าอยู่หัว / รัชดา โชติพานิช

 

6) งานช่างฝีมือกับเครื่องดนตรีไทยในสังคมไทยในสมัยรัตนโกสินทร์ / รุ่งอรุณ กุลธำรง

 

7) ตำนานพญากง พญาพาน : ร่องรอยความสัมพันธ์ของชาวเมืองในภูมิภาคตะวันตกของไทย / อภิลักษณ์ เกษมผลพูล

วารสารไทยศึกษา – ปีที่ 10 ฉบับที่ 2

 

 

1) บทบาทของพระสงฆ์ สามเณร กับงานช่างสิบหมู่สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ / รุ่งอรุณ กุลธำรง

 

2) บทพากย์-เจรจาหนังใหญ่วัดบางดอน จังหวัดระยอง : มรดกวรรณคดีการแสดของชาวบ้าน / รัตนพล ชื่นค้า

 

3) ภูมิปัญญา “ผ้าไหมแพรวาผู้ไทบ้านโพน” : พลวัตและการปรับตัว / นิตยา วรรณกีตร์

 

4) ผ้าย้อมคราม : การทำวัฒนธรรมให้กลายเป็นสินค้าในกระแสโลกาภิวัฒน์ / ดนัย ชาทิพฮด

 

5) พลวัตทางพหุสังคมและพหุวัฒนธรรมของผู้คนในเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ พ.ศ. 2522-2553 / พรชัย นาคสีทอง, อนินทร์ พุฒิโชติ

 

6) ความเป็นชายในมัทนะพาธา / พรรณราย ชาญหิรัญ

 

 

แนะนำหนังสือ

 

“จักรวาฬทีปนี : ลักษณะเด่น ภูมิปัญญา และคุณค่า” / อาทิตย์ ชีรวณิชย์กุล

วารสารไทยศึกษา – ปีที่ 10 ฉบับที่ 1

 

 

1) ทุกข์ เหตุแห่งทุกข์ และหนทางพ้นทุกข์ตามแนวคิดพุทธศาสนาระดับโลกิยะในบทละครนอกเรื่อง สังข์ทอง และคาวี / พัชรินทร์ บูรณะกร

 

2) การสร้างสรรค์ชาดกเรื่องพระมหาชนกในรูปแบบการ์ตูนโทรทัศน์ / สุภัค มหาวรากร, พฤทธิ์ ศุภเศรษฐศิริ

 

3) จาก “ชาดก” สู่ “เพลง” : การรับรู้ความหมายและบทบาทของสื่อ / นิธิอร พรอำไพสกุล

 

4) ดอกไม้วิจิตร : มรดกศิลปวัฒนธรรมในงานช่างสิบหมู่สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ / รุ่งอรุณ กุลธำรง

 

 

แนะนำหนังสือ 

 

“เมืองหนองหารหลวง และภูพานมหาวนาสี” / อภิลักษณ์ เกษมผลกูล

วารสารไทยศึกษา – ปีที่ 9 ฉบับที่ 2

 

 

1) พุทธคุณ : ความขลัง ความศักดิ์สิทธิ์ หรือพระคุณความดีที่ต้องนำไปปฏิบัติ / ธีรโชค เกิดแก้ว

 

2) อุโบสถเจดีย์ : พุทธศิลปสถาปัตยกรรมรูปแบบใหม่สมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว / นภัส ขวัญเมือง

 

3) ความก้าวหน้าในศิลปหัตถกรรมการเย็บปักถักร้อยของสตรีไทยรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว / ดลยา เทียนทอง

 

4) การดำรงอยู่ของงานช่างสนะในสังคมไทยสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ / รุ่งอรุณ กุลธำรง

 

5) เพลงพื้นบ้านในบทละครดึกดำบรรพ์ของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ / รัตนพล ชื่นค้า

 

6) สัญลักษณ์ข้าโอกาสวัดพระธาตุพนม จังหวัดนครพนม ในพิธีถวายข้าวพีชภาคและเสียค่าหัว / สุรชัย ชินบุตร

 

7) การพัฒนาการพาณิชยนาวีของไทย / สุนันทา เจริญปัญญายิ่ง

 

8) สถานภาพชายฝั่ง ความมั่นคงในชีวิต และวิถีชุมชนชายฝั่งทะเลไทย / ศิริวรรณ ศิริบุญ

 

 

แนะนำหนังสือ

 

“ตำนาน” / อาทิตย์ ชีรวณิชย์กุล