การออกแบบอุตสาหกรรมเพื่อชุมชนสำหรับการพัฒนาผลิตภัณฑ์ท้องถิ่นโดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วมเพื่อสร้างความยื่นยืนให้กับชุมชน : กรณีศึกษาหมู่บ้านน้ำตาลสด ตำบลปากน้ำ อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทรา

ศรันยา เสี่ยงอารมณ์

 

บทคัดย่อ

 

การพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนนับเป็นส่วนสำคัญที่ช่วยขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศตามกระแสความเปลี่ยนแปลงของโลก โดยที่การออกแบบได้เข้าไปมีส่วนสำคัญในการสร้างความสำเร็จทางด้านการตลาดเป็นหลัก ไม่ว่าจะเป็นการพัฒนารูปแบบของผลิตภัณฑ์ แบรนด์ หรือบรรจุภัณฑ์ อย่างไรก็ตามทรัพยากรของชุมชนส่วนมากนั้นมีอยู่อย่างจำกัด การพัฒนาที่ขาดความเข้าใจในบริบทที่หลากหลายของชุมชนจึง
ไม่สามารถสร้างความยั่งยืนให้กับสินค้า ทั้งยังอาจสร้างความเสียหายต่อความสมดุลของชุมชนในระยะยาว

 

บทความนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อให้การศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการออกแบบอย่างมีส่วนร่วมกับชุมชนเพื่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนแบบองค์รวม โดยคำนึงถึงประเด็นแวดล้อมรวมถึงผลกระทบทั้งทางด้านสังคมและวัฒนธรรม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อมของชุมชน อันเป็นปัจจัยที่จะช่วยให้เกิดความยั่งยืน โดยนำเสนอกรณีศึกษาหมู่บ้านน้ำตาลสด ตำบลปากน้ำ อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทรา

 

(ตีพิมพ์ใน วารสารไทยศึกษา ปีที่ 11 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2558) หน้า 63-85) 

 

 

Industrial Design for Community in Support of Local Product Development through a Community-driven Participatory Approach for Sustainability: The Case Study of Sugar Village, Pak Nam, Bang Khla, Chachoengsao Province

 

Saranya Siangarom

 

Abstract

 

In relation to current global challenges, local product development is now considered a vital economic driving force for Thailand. At the same time, design plays an important role in marketing success, from branding, to packaging, and to other aspects of new product development. However, as community products are often made from finite resources and through inefficient modes of production, this scenario may cause long-term negative impact on the community, especially including the exploitation of cultural and ecological values. 

 

This article aims to demonstrate the participatory design process employed in local product development through a case study of The Sugar Village, Pak Nam, Bangkhla, Chachoengsao Province. Various key aspects of sustainability – social, cultural, economic, and environmental – are taken into consideration.

 

(Published in Journal of Thai Studies Volume 11 Number 2 (July – December 2015) Page 63-85)

 

บทความ / Full Text : Download