วารสารไทยศึกษา – ปีที่ 9 ฉบับที่ 1

 

 

1) พระมหากษัตริย์ ข้าราชการและประชาชน : มุมมองผ่านการเสด็จประพาสต้นคราวแรกของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว / ปิยนาถ บุนนาค

 

2) พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวกับการฟื้นฟูสถาบันสงฆ์ / วราภรณ์ จิวชัยศักดิ์

 

3) สองมิติของ “การเดินทาง” ในงานจิตรกรรมฝาผนังสมัยรัชกาลที่ 3 : จินตนาการและภาพสะท้อนสังคม / ดินาร์ บุญธรรม

 

4) มรดกภูมิปัญญารูปสัตว์หิมพานต์ : งานช่างสิบหมู่ในพระราชพิธีปัจจุบัน / รุ่งอรุณ กุลธำรง

 

5) นาฏยลีลาพระมหาชนก : การสร้างสรรค์ชาดกในสังคมไทย / สุภัค มหาวรากร

 

6) จุลกฐินวัดศรีธาตุ บ้านสิงห์ จังหวัดยโสธร : การรื้อฟื้นและประดิษฐ์สร้างพิธีกรรมในปัจจุบัน / สุรชัย ชินบุตร

 

 

แนะนำหนังสือ

 

“ประชุมสุภาษิตสอนหญิง : มรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญา และคุณค่าต่อสังคม” / พิสิทธิ์ กอบบุญ

วารสารไทยศึกษา – ปีที่ 8 ฉบับที่ 2

 

 

1) คลองแสนแสบ : ความเป็นมาและการเปลี่ยนแปลง / วราภรณ์ จิวชัยศักดิ์

 

2) กลไกทางสังคมที่นำไปสู่ความเข็มแข็งของชุมชนภายใต้เงื่อนไขความหลากหลายของประชากร : กรณีศึกษาชุมชนสุเหร่าบ้านดอน ริมคลองแสนแสบ / ศิริวรรณ ศิริบุญ

 

3) วัดกับมัสยิดริมคลองแสนแสบ : ความเป็นมาและการดำรงอยู่ / รุ่งอรุณ กุลธำรง

 

4) ผู้สืบทอดเป็นผู้ถือครอง มิใช่เจ้าของมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม / สุกัญญา สุจฉายา

 

5) การพากย์-เจรจาหนังใหญ่ : มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมที่กำลังเลือนหาย / รัตนพล ชื่นค้า

 

6) วรรณกรรมกาเผือก : สมบัติของชุมชนไทยยวน อำเภอเสาไห้ จังหวัดสระบุรี / ดวงหทัย ลือดัง

 

7) พิธีเลี้ยงผีสะเอิงของชาวกูยที่บ้านละเอาะ อำเภอน้ำเกลี้ยง จังหวัดศรีสะเกษ / พรรณวดี ศรีขาว

 

8) วัฒนธรรมการค้าขายแดนสองฝั่งโขง / สุมาลี สุขดานนท์

 

 

แนะนำหนังสือ

 

“พระพุทธปฏิมาวัดโพธิ์” / ศานติ ภักดีคำ

วารสารไทยศึกษา – ปีที่ 8 ฉบับที่ 1

 

 

1) ความเชื่อและพิธีกรรมเกี่ยวกับผีอารักษ์บ้านในชุมชนไทลื้อ บ้านไม้ลุงขน อ.แม่สาย จ.เชียงราย : การสืบทอดและพลวัตภายใต้บริบทใหม่ / อัมพิกา ยะคำป้อ

 

2) การดำรงอยู่ของพิธีบูชาเสาอินทขีล : การผสมผสานความเชื่อดั่งเดิมและพุทธศาสนาในพิธีกรรมปัจจบัน / พิมพ์นภัส จันดาวงศ์

 

3) อารักษ์บ้าน-อารักษ์เมือง การดำรงอยู่ของความเชื่อและพิธีกรรมเกี่ยวกับผีอารักษ์ในวิถีชีวิตไทย-ไทในปัจจุบัน / ศิราพร ณ ถลาง

 

4) งานบุญแปดหมื่นสี่พันขันธ์ : สัญลักษณ์ในพิธีกรรมประดิษฐ์จากคัมภีร์ใบลาน / พิเภก เมืองหลวง

 

5) การสืบทอดอัตลักษณ์กลุ่มชาติพันธุ์ “ชอง” ผ่านพิธี “ส่งในบ้าน” ของชาวชอง บ้านทุ่งไก่ดัก อ.เมือง จ.ตราด / อภิลักษณ์ เกษมผลกูล

 

 

แนะนำหนังสือ

 

“ตำนานพระพุทธรูปล้านนา : พลังปัญญาทางความเชื่อและความสัมพันธ์กับท้องถิ่น” / อภิลักษณ์ เกษมผลกูล